หน้าหลัก
ประวัติภาควิชา
ฝ่ายบริหารของภาควิชา
บุคลากรในภาควิชา
หลักสูตรการเรียนการสอน
งานวิจัย
หนังสื่อ/สื่อการสอน
คลินิกกายภาพบำบัด
โครงงานพัฒนาคุณภาพ
เว็บไซต์ที่น่าสนใจ
 

รศ.ดร.สุกัลยา อมตฉายา (สิทธิคงศักดิ์)
Asst.Prof.Dr.Sugalya Amatachaya (Sitthikongsak)


การศึกษา

ปี พ.ศ. 2532 - 2536            ปริญญาตรีกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปี พ.ศ. 2541 – 2544           ปริญญาโทกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
ปี พ.ศ. 2544 – 2548           ปริญญาเอก Sport and exercise sciences, University of Leeds ประเทศสหราชอาณาจักร

ติดต่อ
E-mail address : samata@kku.ac.th

 



    สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ
    • กายภาพบำบัดในผู้ป่วยทางระบบประสาท โดยเฉพาะอย่างยิ่งกายภาพบำบัดในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injury)
    • การเดิน (Gait) และการทรงตัว (Balance)
    • การควบคุมและการเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor control and learning)

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
1.  หัวหน้ากลุ่มวิจัย:     การพัฒนาความสามารถทางกายและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้ที่มีความบกพร่องด้านการเคลื่อนไหว (The Development of Physical Performance and Quality of Life of Aging and Individuals with Movement Impairments)

2.  หัวหน้าโครงการวิจัย: ชื่อโครงการวิจัย

  • ความสามารถด้านการเดินและการทรงตัวของผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่สามารถเดินได้อย่างอิสระ: ปัจจัยทำนายความเสี่ยงต่อการล้ม ได้รับทุนวิจัยจาก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ. 2553)
  • การทรงตัว การล้ม และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เคลื่อนไหวและไม่เคลื่อนไหวเป็นประจำ ได้รับทุนวิจัยจาก สกว. MAG Window II (พ.ศ. 2552)
  • ความสามารถทางกายและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุไทย ได้รับทุนวิจัยจาก โครงการวิจัย ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ.2552)
  • เบาะรองนั่งเพื่อป้องกันแผลกดทับ ได้รับทุนจาก สกว. IRPUS: IPUS3 (พ.ศ. 2552)
  • ความสามารถด้านการเดินและการทรงตัวในผู้สูงอายุที่เคลื่อนไหวและไม่เคลื่อนไหวเป็นประจำ ได้รับทุนวิจัยจากคณะเทคนิคการแพทย์  (พ.ศ. 2551) และ สกว. IRPUS: RPUS (พ.ศ. 2552)
  • การทรงตัว การล้ม และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย ได้รับทุนวิจัยจาก สสส. (พ.ศ. 2551)
  • ความสามารถทางกาย ภาวะแทรกซ้อน และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังภายหลังออกจากโรงพยาบาล ได้รับทุนวิจัยจาก สกว.  (พ.ศ. 2551)
  • ผลของสิ่งชี้นำภายนอกต่อการเดินในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังแบบไม่สมบูรณ์ที่สามารถเดินได้เองอย่างอิสระ

3.งานวิจัยที่ทำเสร็จแล้ว

 

4. การนำเสนอผลงานทางวิชาการ

  • มทิตา   แก้วสุทธิ, สุกัลยา  อมตฉายา.  ผลของสิ่งชี้นำภายนอกต่อความสามารถด้านการเดินในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังแบบไม่สมบูรณ์: การศึกษาเบื้องต้น. การประชุมทางวิชาการการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตวิทยาลัย ครั้งที่ 10 บัณฑิตวิทยาลัย (The 10th Graduate Research Conference Khon Kaen University) 2008; 18 มกราคม 2550. ขอนแก่น.
  • Keawsutthi M, Amatachaya S, Manimmanakorn N, Amatachaya P.  Effects of external cues on gait performance in patients with incomplete spinal cord injury (iSCI).  The 10th International congress of the Asian Confederation for physical therapy, Chiba, Japan. (29 August  – 1 September 2008)
  • เยาวราภรณ์ ยืนยงค์, สุกัลยา อมตฉายา, วัณทนา ศิริธราธิวัตร.  ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกาย.  ความท้าทายของเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัดในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง. ขอนแก่น (16 – 18 มีนาคม 2552)
  • ทิวาพร ทวีวรรณกิจ, จุฑารัตน์ อดิเรกอุดมรัตน์, กิตติยา ธนูทอง, สุกัลยา อมตฉายา, วรวรรณ คำฤาชา. การเดินข้ามสิ่งกีดขวางในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังแบบไม่สมบูรณ์. ความท้าทายของเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัดในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง. ขอนแก่น (16 – 18 มีนาคม 2552)
  • จิราภรณ์ วรรณปะเข, สุกัลยา อมตฉายา, วัณทนา ศิริธราธิวัตร.  ความสามารถทางกาย คุณภาพชีวิต อุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนและการล้มในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังหลังออกจากโรงพยาบาล: การศึกษาเบื้องต้น. ความท้าทายของเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัดในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง. ขอนแก่น (16 – 18 มีนาคม 2552) ได้รับรางวัลการนำเสนอดีเด่น
  • Sittikongsak, S. and Utley, A. (2002) Benefits of treadmill training compared to over ground walking in patients with incomplete spinal cord injury: a preliminary study, International conference on post-trauma rehabilitation, Qucbec, Canada.
  • Sittikongsak, S. and Utley, A. (2004) effects of treadmill and conventional walking training in patients with incomplete spinal cord injury, University of Leeds, Leeds, UK.
  • Sittikongsak, S. and Utley, A. (2004) Development of the context functional task test (CFTT). Advances in Motor Research in Hemiparetic Cerebral Palsy, Leeds, UK.



ผลงานทางวิชาการอื่นๆ

1.   บทความทางวิชาการ

2. ตำรา

  • สุกัลยา อมตฉายา, วรวรรณ คำฤาชา (บรรณาธิการ). การเดิน การเคลื่อนย้ายตัว และเครื่องช่วย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2552
  • สุกัลยา อมตฉายา. การเดิน. ใน  สุกัลยา อมตฉายา, วรวรรณ คำฤาชา. การเดิน การเคลื่อนย้ายตัว และเครื่องช่วย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2552: 1 – 43.
  • สุกัลยา อมตฉายา, วรวรรณคำฤาชา และอนุชา นิลประพันธ์. การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย. ใน  สุกัลยา อมตฉายา, วรวรรณ คำฤาชา. การเดิน การเคลื่อนย้ายตัว และเครื่องช่วย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2552: 77 – 95. 
  • สุกัลยา อมตฉายา. การฟื้นฟูความสามารถสำหรับผู้ป่วยอัมพาตครึ่งท่อนและทั้งตัวแบบสมบูรณ์. ใน สุกัลยา อมตฉายา, วรวรรณ คำฤาชา. การเดิน การเคลื่อนย้ายตัว และเครื่องช่วย. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2552: 133 – 96.
  • สุกัลยา สิทธิคงศักดิ์, วรวรรณ คำฤาชา (บรรณาธิการ). การเดินและการเคลื่อนย้ายตัว. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2549.
  • สุกัลยา สิทธิคงศักดิ์. การเดิน. ใน สุกัลยา สิทธิคงศักดิ์, วรวรรณ คำฤาชา. การเดินและการเคลื่อนย้ายตัว (Gait and Ambulation). ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา; 2549. หน้า 1-34.
  • สุกัลยา สิทธิคงศักดิ์. การเคลื่อนย้ายตัวในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งท่อนและทั้งตัว. ใน  สุกัลยา สิทธิคงศักดิ์, วรวรรณ คำฤาชา. การเดินและการเคลื่อนย้ายตัว (Gait and Ambulation). ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา; 2549. หน้า 75-107.

3. ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

  • อาจารย์ที่ปรึกษาหลักของนางสาวมทิตา แก้วสุทธิ สาขาวิขากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • อาจารย์ที่ปรึกษาหลักของนางสาวจิราภรณ์ วรรณปะเข สาขาวิขากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • อาจารย์ที่ปรึกษาหลักของนางสาวทิวาพร ทวีวรรณกิจ สาขาวิขากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมของนางสาวเยาวราภรณ์ จารุจิตร สาขาวิชาการบริหารบริการสุขภาพ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมของนางสาววรรณิศา คุ้มบ้าน สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น






   

 
สงวนลิขสิทธิ์โดย ภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น