รศ.ดร.รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล
Assoc.Prof.Dr.Rungthip Puntumetakul
การศึกษา
ระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต(กายภาพบำบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล, ประเทศไทย ปี 2527
ระดับปริญญาโท Master of Applied Sciences (Physiotherapy) University of South Australia, Australia ปี 2537
ระดับปริญญาเอก Doctor of Philosophy University of South Australia, Australia ปี 2549
ติดต่อ
E-mail address : rungthip@kku.ac.th
Office Phone: 66-43-202085
Office Fax: 701-777-4490
Research interest
Back pain
Vertical spinal creep
Musculoskeletal disorders in the diabetes
ผลงานทางวิชาการ
หนังสือ
1. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล. คำถามการวิจัยและสมมุติฐานการวิจัย. ใน : ทกมล หรรษาวงศ์ ยอดชาย บุญประกอบ บรรณาธิการ. การอบรมวิชาการ วิจัยทางกายภาพ- บำบัด. ขอนแก่น: ภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2544.
2. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล. เกรดที่ใช้ในการทำ Manipulative therapy และการรักษาด้วยเทคนิคทาง Manipulative therapy ในผู้ป่วยปวดหลังเนื่องจากภาวะหมอนรองกระดูกยื่น. ใน: ทวีศักดิ์ จรรยาเจริญ ลักขณา มาทอ บรรณาธิการ. การรักษาผู้ป่วยปวดหลังเนื่องจากภาวะหมอนรองกระดูกสันหลังยื่นหรือปลิ้น. ขอนแก่น: ภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2545.
3. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล . การตรวจประเมินทางกายภาพบำบัดบริเวณกระดูกสันหลังระดับเอว. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 254 5.
4. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล . การตรวจประเมินทางกายภาพบำบัดบริเวณกระดูกสันหลังระดับคอ. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 254 5.
5. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล . กายภาพบำบัดในภาวะคอเสื่อม. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 254 5
6. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล และยอดชาย บุญประกอบ. การตรวจประเมินทางกายภาพบำบัดบริเวณกระดูกสันหลัง. ขอนแก่น ; โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2550.
7. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล และทกมล กมลรัตน์. การจัดการทางกายภาพบำบัดโดยใช้เทคนิคการขยับเคลื่อนระบบประสาท. ขอนแก่น ; โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2550.
บทความทางวิชาการ
1. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล. ชีวกลศาสตร์ของหลัง. วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด 2539 ; 6: 118-24.
2. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล. ปวดหลังออกกำลังกายอย่างไรดีหนอ. วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด 2541 ; 8: 171-6.
3. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล , สุภาภรณ์ ผดุงกิจ . การดึงข้อต่อกระดูกสันหลังส่วนเอว. วารสารกายภาพบำบัด 2542; 21: 151-8.
4. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล . Role of Physiotherapy in Low Back Pain. วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2550; 2: 37-47.
5. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล . ทำอย่างไรจึงจะห่างไกลอาการปวดหลัง. วารสารศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2550 ; 15: 8-13.
6. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล . กายภาพบำบัดกับภาวะปวดหลัง. ใน: เอกสารประกอบการบรรยายในการประชุมวิชาการประจำปี 2550. คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
7. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล . ควรทำอย่างไร เมื่อท่านเกิดอาการปวดหลัง. วารสารศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2551 ; 16: 14-18.
งานวิจัย
1. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล , อุไรวรรณ ชัชวาลย์, สุรัสวดี มรรควัลย์, สุกัลยา สิทธิคงศักดิ์, จารุวรรณ โชคคณาพิทักษ์, ยุทธพงศ์ วีระวัฒน์กุล. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงของอาการปวดหลังส่วนล่างในสตรีตั้งครรภ์ที่มาคลอด ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์. ศรีนครินทร์เวชสาร 2540; 12: 234-42
2. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล . Treatment of lumbar disc herniations utilising physical therapy (the initial two cases). นำเสนอด้วยวาจาในการประชุมวิชาการคณะกายภาพบำบัดและวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวประยุกต์ประจำปี 2543 ณ ห้องภาณุรังสี โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ. วันที่ 14-16 เมษายน 254 3.
3. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล . Tension point และ nerve mobilization ในผู้ป่วย cervical spondylosis ที่มีภาวการณ์กดทับของรากประสาท ( รายงานผู้ป่วย 1 ราย). วารสารกายภาพบำบัด 2543; 22: 89-101.
4. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล , สุภาภรณ์ ผดุงกิจ, อุไรวรรณ ชัชวาลย์, เพ็ญนภา ศิริสานต์, พัชรินทรา กรองสันเทียะ, สุวรรณา ปู่ชื่น. การวัดค่าความโค้งปกติของกระดูกสันหลังระดับเอวในท่ายืนโดยใช้ flexible ruler. วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด 2543; 12: 108-15.
5. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล ,วัณทนา วัฒนศิลป์, สุภาภรณ์ ผดุงกิจ, เพ็ญนภา ศิริสานต์, พัชรินทรา กรองสันเทียะ, สุวรรณา ปู่ชื่น, มนัสพร เศรษดาวิทย์, ฉันทนา หวังเลี้ยงกลาง . ความสัมพันธ์ระหว่างเพศและดรรชนีมวลกายกับความโค้งของกระดูกสันหลังระดับเอวในท่ายืน. วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด 2544; 13: 20-9.
6. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล , สุภาภรณ์ ผดุงกิจ, ทกมล หรรษาวงศ์, ธวัชชัย สุวรรณโท, สมเกียรติ หมื่นชาติ . ผลของ central postero-anterior pressures technique ต่อองศาการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังระดับเอว. วารสารกายภาพบำบัด 2544; 23: 1-11.
7. ทกมล หรรษาวงศ์, รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล, อุไรวรรณ ชัชวาลย์, สุภาภรณ์ ผดุงกิจ, ป้อม พันธุ์พรหม, วัชระษา ยืนชีวิต, สุพัตตรา อำนวย . ผลของการเคลื่อนไหวข้อแบบผู้อื่นทำให้บนกระดูกสันหลังระดับคอต่อการทำงานของระบบประสาทซิมพาเธติกในคนปกติ. วารสารเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัด 2544; 13: 145-55.
8. รุ้งทิพย์ พันธุเมธากุล, อุไรวรรณ ชัชวาลย์, สุภาภรณ์ ผดุงกิจ, ยอดชาย บุญประกอบ, จตุรัตน์ กันต์พิทยา, ปรีดา อารยาวิชานนท์ และคณะ . เทคนิค postero-anterior pressure ในผู้ป่วยปวดหลังจากภาวะหมอนรองกระดูกสันหลังระดับเอวยื่นหรือปลิ้น. ศรีนครินทร์เวชสาร 2544; 16: 239-50
9. Mackawan S, Eungpinichpong W, Puntumetakul R, Chatchawan U, Hunsawong T, Arayawichanon P. Effects of traditional Thai massage versus joint mobilization on substance P and pain perception in patients with non-specific low back pain. J Bodywork Movement Ther 2007; 11: 9-16.
10. Puntumetakul R , Trott P, Williams M, Fulton I. The effect of time of the day on the vertical spinal creep. Applied Ergonomics 2009; 1-6
การเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการนานาชาติ
1. Puntumetakul R, et al. Posteroanterior pressure technique for lumbar intervertebral disk herniation. ในการประชุม New Zealand Manipulative Physiotherapy Association Annual Scientific Conference, Rotoral, New Zealand. วันที่ 4-5 สิงหาคม 2544 (Oral presentation).
2. Puntumetakul R, Tension point and nerve mobilization in cervical spondylosis with radiculopathy. ในการประชุม ACPT, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย. วันที่ 5-8 ธันวาคม 2546. (Poster presentation)
3. Puntumetakul R , Trott P, Williams M, Fulton I, Kanlayanaphotporn R. The effect of non-accelerated and accelerated protocols on the vertical spinal creep response (VSC). ในการประชุม The 8 th International Physiotherapy Congress Improving & Expanding Practice ณ Adelaide Convention Centre, Adelaide, Australia. วันที่ 15-18 พฤษภาคม 2547 (Oral presentation)
4. Puntumetakul R, Phadungkit S, Wanpen S, Puntumetakul M, Pratipanawatr T.The prevalence of musculoskeltal disorders in the diabetes in Khon Kaen, Thailand. ในการประชุม10 th International Congress of the Asian Confederation for Physical Therapy ณ Chiba, Japan. วันที่ 29 สิงหาคม- 1 กันยายน 2551 (Poster presentation).
งานบริหาร
1 . เคยดำรงตำแหน่งเลขานุการภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. เคยดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. เคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชากายภาพบำบัด คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4. ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัย บัณฑิตศึกษา และวิเทศน์สัมพันธ์ คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (วันที่ 6 มีนาคม 2551 จนถึงปัจจุบัน)
5. หัวหน้ากลุ่มวิจัยปวดหลัง ปวดคอ และปวดข้ออื่น ๆ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น (วันที่ 1 ตุลาคม 2551 จนถึงปัจจุบัน)
สมาชิกและกรรมการของสมาคมทางวิชาการ และสมาคมต่าง ๆ
1. กรรมการบริหารงานสมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย พ. ศ. 2544-2546
2. กรรมการบริหารงานสภากายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2551-ปัจจุบัน
3. สมาชิกสมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย ตลอดชีพ
4. สมาชิกสภากายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย ตลอดชีพ
5. สมาชิกสมาคม ประสาทวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตลอดชีพ
6. กรรมการสภาวิชาชีพกายภาพบำบัด (ตั้งแต่เมษายน 2551-ปัจจุบัน)
ผลงานอื่น ๆ ที่สำคัญและงานสังคม (หลังจากจบการศึกษาระดับปริญญาเอก)
1. วิทยากรบรรยาย ในงานการประชุมประสาทวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ 14-16 กุมภาพันธ์ 2550.
2. วิทยากรบรรยาย ในงานสัปดาห์กายภาพบำบัดแห่งชาติ จัดโดยสภากายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2550.
3 . วิทยากรบรรยาย ในงานการจัดประชุมเรื่อง ยืด คลายเส้น เพื่อปลอดอาการปวดหลัง จัดโดย สปสช. เมื่อวันที่ 23-24ตุลาคม 2550.
4. วิทยากรบรรยาย ในงาน การยกมาตรฐานการให้บริการทางเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบัดจัดโดยคณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่ 27-29 พฤศจิกายน 2550.
5 . วิทยากรบรรยายในงาน โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการปวดหลัง จัดโดยงานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชบ้านดุง ณ โรงแรมอินเตอร์รีสอร์ท เมื่อวันที่ 19-21 มีนาคม 2551.
6. วิทยากรบรรยายในงาน กายภาพบำบัดในผู้ป่วยระบบกระดูกและกล้ามเนื้อบริเวณกระดูกสันหลังและอุ้งเชิงกราน: จลนศาสตร์และการตรวจประเมินทางกายภาพบบำบัด จัดโดย ศูนย์สมเด็จพระสังฆราชญสณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ ณ โรงแรมจอมเทียนการ์เด้นท์ รีสอร์ด พัทยาใต้ เมื่อวันที่ 26-27 มีนาคม 2551.