|
 ความมุ่งหมายทั่วไปของรายวิชา
เป็นการศึกษาทฤษฎีและปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการ
เทคนิค วิธีการรักษาและผลในการรักษาด้วยไฟฟ้าความถี่ต่ำ
และความถี่ปานกลางชนิดต่างๆ ซึ่งได้แก่ กระแสไฟตรง
และกระแสไฟสลับ รวมทั้งหลักการและวิธีการวินิจฉัยโรคของกล้ามเนื้อและเส้นประสาทและการลดปวดด้วยไฟฟ้าความถี่ต่ำ
เงื่อนไขรายวิชาที่สำคัญ:
1) เป็นวิชาบังคับสำหรับนักศึกษากายภาพบำบัดชั้นปีที่
3 ภาคการศึกษาแรก
2) จำนวนหน่วยกิต
2(1-3-0)
3) ผู้เรียนจะสอบผ่านต้องมีคะแนนรวมมากกว่า
60 เปอร์เซ็นต์
|
|
|
ี้ ความมุ่งหมายเฉพาะของรายวิชา
เมื่อเสร็จสิ้นการเรียนการสอนแล้ว
นักศึกษาสามารถ
1).อธิบายชนิดของกระแสไฟฟ้าและหลักการรักษา
ข้อบ่งชี้ ข้อห้ามใช้และข้อควรระวังของการรักษาด้วยไฟฟ้าความถี่ต่ำ
2). อธิบายหลักการวินิจฉัยโรคด้วยไฟฟ้าความถี่ต่ำ
3).แสดงวิธีการหาจุดมอเตอร์และเส้นโค้งเอสดีของกล้ามเนื้อและเส้นประสาท
4).แสดงวิธีการกระตุ้นกล้ามเนื้อและเส้นประสาทเพื่อการรักษาด้วยเทคนิคต่างๆ
5 ).แสดงวิธีการกระตุ้นไฟฟ้าเพื่อลดปวดด้วยไฟฟ้าความถี่ต่ำ
|
|
|
เนื้อหารายวิชา
1.
กระแสไฟฟ้าที่ใช้รักษาทางกายภาพบำบัด(1) และการติดตั้งและการทดสอบเครื่องฯ
2. กระแสไฟฟ้าที่ใช้รักษาทางกายภาพบำบัด(2) และการวัดสัญญาณไฟฟ้าฯ
3. เทคนิคการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าฯ และเทคนิคการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าฯ
4. การกระตุ้นด้วยกระแสไฟแกลเวนิก และเทคนิคการกระตุ้นฯ
5. สรีรวิทยาของเซลล์กล้ามเนื้อ-ประสาท และเทคนิคการผลักดันตัวยาผ่านผิวหนัง
6. การกระตุ้นด้วยกระแสไฟตรงอย่างเป็นช่วงๆ และเทคนิคการกระตุ้นฯ
7. กระตุ้นด้วยกระแสไฟฟาราดิก และเทคนิคการกระตุ้นฯ
8. การหาจุดมอเตอร์
และเทคนิคการกระตุ้นฯ
9. เส้นโค้งเอสดีและการประยุกต์ใช้ทางคลินิค และเทคนิคการหา
10. การระงับปวดด้วยกระแสไฟฟ้า และเทคนิคการกระตุ้นฯ
11. กระแสไฟฟ้า TENS, Diady, IFC, HVGC
และเทคนิคการกระตุ้น 1
12.
กระแสไฟฟ้า TENS, Diady, IFC, HVGC
และเทคนิคการกระตุ้น 2
13.
กระแสไฟฟ้า TENS, Diady, IFC, HVGC
และเทคนิคการกระตุ้น 3
14.
กระแสไฟฟ้า TENS, Diady, IFC, HVGC
และเทคนิคการกระตุ้น 4
15. การตรวจประสาท-กล้ามเนื้อด้วยไฟฟ้า
16. การกระตุ้นด้วยไฟฟ้าเพื่อช่วยซ่อมแซมเนื้อเยื่อ
|
|
|
|
|
|